วันพฤหัสบดีที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2555

วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทยและภาษาจีน:ระบบคำเรียกขาน


ชื่อหนังสือ วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทยและภาษาจีน : ระบบคำเรียกขาน
ปีที่พิมพ์ 2553 พิมพ์ครั้งที่ 1
ผู้เขียน ผศ.ดร.เมชฌ สอดส่องกฤษ

หน่วยงานที่สนับสนุน
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ Faculty of Southeast Asia and South Asia Language and culture Yunnan Nationalities
University, China

พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ข้อมูลบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทยและภาษาจีน : ระบบคำเรียกขาน — อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2553,....... หน้า.
1.คำเรียกขาน 2.การใช้ภาษา 3.ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ 4. ภาษาศาสตร์สังคม

ISBN : 978 - 974 - 523 - 22 4 - 2



สารบัญ



บทที่ 1 ความนำ

ความสำคัญและที่มาของเรื่อง
วัตถุประสงค์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
หน่วยงานที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
ทฤษฎีหรือกรอบแนวคิดในงานวิจัยและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง



บทที่ 2 เปรียบเทียบคำเรียกญาติในภาษาไทยและภาษาจีน


2.1 คำเครือญาติในภาษาไทยและภาษาจีน
2.2 ลักษณะการประกอบของคำเรียกญาติในภาษาไทยและ ภาษาจีน
2.3 ลักษณะทางความหมายของคำเรียกญาติในภาษาไทยและภาษาจีน
2.4 กฎการใช้คำเรียกญาติในภาษาไทยและภาษาจีน


บทที่ 3 เปรียบเทียบการใช้คำเรียกขานสังคมในภาษาไทยและภาษาจีน


3.1 คำเรียกขานสังคมในภาษาไทยและภาษาจีน
3.2 ลักษณะการประกอบคำเรียกขานสังคมในภาษาไทยและ
ภาษาจีน
3.3 ลักษณะทางความหมายของคำเรียกขานสังคมในภาษาไทย
และภาษาจีน

3.4 กฎการใช้คำเรียกขานสังคมในภาษาไทยและภาษาจีน



บทที่ 4 การใช้คำเรียกขานในภาษาไทยและภาษาจีน : การวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์สังคม


4.1 การเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การใช้คำรียกขานในภาษาไทย
และภาษาจีน
4.2 เปรียบเทียบรูปแบบคำเรียกขานในภาษาไทยและภาษาจีน
4.3 เปรียบเทียบการใช้คำเรียกขานจำแนกตามความสัมพันธ์
ของคู่สนทนา
4.4 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้คำเรียกขานในภาษาไทย
และภาษาจีน

บทที่ 5 บทสรุป


5.1 คำศัพท์ที่ใช้เป็นคำเรียกขาน
5.2 การประกอบคำเรียกขาน
5.3 ลักษณะทางความหมายและกฎการใช้คำเรียกขานในภาษาไทย
และภาษาจีน
5.4 สรุปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้คำเรียกขานในภาษาไทย
และภาษาจีน
5.5 บทสรุป


บรรณานุกรม








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น