วันเสาร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553

ประวัติและผลงานวิชาการ


ลำดับที่ของ

ผลงาน /

ปีที่พิมพ์ ประเภทของผลงาน รายการผลงาน

2544

1. พจนานุกรม วัลยา วิริยเสนกุล และเมชฌ สอดส่องกฤษ (2544) พจนานุกรมไทย – จีน – อังกฤษ.ได้รับสนับสนุนงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีปี 2542.

2545

2. ประชุมวิชาการ เมชฌ สอดส่องกฤษ (2545) ความสัมพันธ์ของการขับร้องกับคีตศิลป์และวรรณศิลป์ เอกสาร ประกอบการประชุมทางวิชาการสังคีตวิทยาครั้งที่ 1 ,

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี.

2547

3. วิทยานิพนธ์ Metcha Sodsongkrit (2004) . A comparative of Addressing terms in Chinese and Thai. Ph.D Dissertation, Nanjing Normal

University, China.

2548

4. บทความ (TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2548) “ดนตรีจีน กู่เจิง”, วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 .

5. บทความ ตปท. Metcha Sodsongkrit (2005) “The Social Appellations in The Sino-Thai Cognate”, Journal of Yunnan Normal University , vol.4 ,Yunnan China.

6. บทความ ตปท. Metcha Sodsongkrit (2005) “A study of Chinese GUZHENG vocabulary” , Journal of Nanjing Arts University , vol.104,

Nanjing China.

7. บทความ (TCI) Metcha Sodsongkrit(2005) “On the kinship addressing terms of related words in Chinese and Thai languages”Journal of Chinese Study ,vol.1 ,Faculty of Humanities,Kasetsart University ,Thailand.

8. วิจัย อินทิรา ซาฮีร์,ชมพูนุช ธารีเธียร,นริศรา แสงเทียน, เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2548)ชุดโครงการวิจัยองค์ความรู้เกี่ยวกับชุมชนชายแดนภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย : กรณีศึกษาชุมชนชายแดนในจังหวัดอุบลราชธานี,โครงการย่อยที่ 2 การสื่อสาร

ข้ามวัฒนธรรม ชุมชนชายแดน: กรณีศึกษาจุดผ่านแดนจังหวัดอุบลราชธานี. ได้รับสนับสนุนงบประมาณการวิจัยจาก

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2548

2549

9. บทความ (TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ(2549) “หมาในภาษาและวัฒนธรรมจีน”, วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 .

10. บทความ ตปท. Metcha Sodsongkrit(2006) “Chinese Loan words in Thai” Journal of Shantou University, vol.3, Shantou China.

11. บทความ ตปท. Metcha Sodsongkrit(2006) Acomparison of modern Thai and Chinese address terms usage, Chinese Journal of

Humanities&Social Sciences. Vol.4. China.

2550

12. วิจัย เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2550) เปรียบเทียบการใช้คำเรียกขานภาษาไทยและจีนในสมัยปัจจุบัน. ทุนสนับสนุนงานวิจัยเงินรายได้คณะศิลปศาสตร์

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

13. บทความ (TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2550) “นางคำยืมจากภาษาเขมรหรือคำศัพท์ร่วมเชื้อสายไทยจีน”, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง,ปีที่ 3 ฉบับที่ 1,หน้า 139 – 178.

14. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2550) “จากบทเพลงเผ่าอี๋ถึง 9999 ดอก” , วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ฉบับประจำเดือน

กันยายน.

15. บทความ วชก. (TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2550) “การใช้คำเรียกขานในภาษาไทยและภาษาจีนในสมัยปัจจุบัน : การศึกษาเปรียบเทียบ” วารสารวิชาการคณะ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี,ปีที่ 3 ฉบับที่ 2.

2551

16. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2551) “ประวัติดนตรีจีน” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 13 ฉบับที่ 12.

17. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2551) “ระฆังราว เครื่องดนตรีจีนที่หายสาบสูญไปนับพันปี” วารสารพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล,

ปีที่ 14 ฉบับที่ 2.

18. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2551) “ครบเครื่องเรื่องกู่เจิง” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่ 3.

19. บทความ วชก. เมชฌ สอดส่องกฤษ (2551) “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้ภาษา” วารสารวิชาการรมยสาร, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1.

20. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ซอมีกี่สาย” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ , มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่ 4.

21. สารานุกรม เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2551)สารานุกรมดนตรีไทยจีน ฉบับสองภาษา ไทย- จีน.พิมพ์ครั้งที่1 , อุบลราชธานี: ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.

2552

22. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ขับลำบรรเลงตำนานเพลงพิณสายเดี่ยว”วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล,

ปีที่ 14 ฉบับที่ 8.

23. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “เปิดตำนานกลองจีน” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่ 10.

24. บทความ วชก.(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “อุปมาและสัญลักษณ์ความรักในภาษาจีน” วารสารจีนศึกษา , คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2.

25 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “เครื่องประกอบจังหวะไม้ในวงดนตรีจีน” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล,

ปีที่ 14 ฉบับที่11.

26 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ และ วรรณภา ชำนาญกิจ (2552) “เทียนลู่,บทเพลงแห่งสายใยรักจีนธิเบต” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 14 ฉบับที่12.

27 บทความ วชก.(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “การศึกษาวิเคราะห์ระบบคำเครือญาติในภาษาจีน” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2

(พฤษภาคม – สิงหาคม),หน้า41-66.

28 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ซวิน เครื่องดนตรีจากหินล่าสัตว์” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1,

หน้า 14 – 17.

29 หนังสือ /ตำรา เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) เก่งจีน 30 ชั่วโมง.พิมพ์ครั้งที่ 1 .กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

30 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “เพลงระบำเผ่าอี๋ หนึ่งในเพลงทรงกู่เจิงของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี” วารสารเพลง

ดนตรี , วิทยาลัยดุริยางค ศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่2,หน้า 16 – 21.

31 หนังสือ /ตำรา เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) เก่งจีน 30 ชั่วโมง.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ภาษาและ วัฒนธรรม, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

32 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ผายเซียว เซิง หยวี่ : โหวดและแคนจากแดนมังกร” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล,

ปีที่ 15 ฉบับที่3,หน้า16-19.

33 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “ขลุ่ยน้ำเต้า ภูมิปัญญาชาวไตในสิบสองปันนา” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15

ฉบับที่4.หน้า 36-40.

2553

34 สารานุกรม เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) สารานุกรมเมืองอุบล : ภาคภาษาประเทศลุ่มน้ำโขง.อุบลราชธานี:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

35 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “ขิมหยางฉิน:เปียโนสัญชาติตะวันออก” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15

ฉบับที่ 5. หน้า 36-39.

36 หนังสือ / ตำรา เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) วัฒนธรรมการใช้ภาษาไทยและภาษาจีน : ระบบคำเรียกขาน.โครงการร่วมแต่งตำราการสอนภาษาไทยสำหรับ

ผู้เรียนชาวจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ Faculty of Southeast Asia and South Asia Language and culture

Yunnan Nationalities University, China. อุบลราชธานี :โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

37 บทความ วชก. เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “วิธีการสอนการออกเสียงภาษาไทยที่มีปัญหาสำหรับผู้เรียนชาวจีน”,วารสารวิชาการรมยสาร. คณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 7 ฉบับเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม, หน้า 66 – 79.

38 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “เหลียง-จู้ เพลงรักผีเสื้อ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 6.หน้า 15-17.

39 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “ผีพา พิณจีนสัญชาติอินเดีย” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 7.หน้า

20 - 24

40 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “สังข์:ในมุมมองของเครื่องดนตรีโบราณของจีน” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15

ฉบับที่ 8.หน้า 14 – 17.

41 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “ปาอิน, การแบ่งประเภทเครื่องดนตรีแบบแปดเสียงในสมัยโบราณของจีน” วารสารเพลงดนตรี, วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 9.หน้า 16 – 19.

42. หนังสือ / ตำรา 陆生,蔡宋男,เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2010) 《大学泰语综合教程一》重庆 :重庆大学出版社。

(Lu Sheng, Cai Songnan, เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2010) ชุดตำราเรียนภาษาไทยระดับอุดมศึกษา เล่ม1. ฉงชิ่ง : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยฉงชิ่ง,

ประเทศจีน.)

43. บทความ วชก.(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) " รายการคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นอีสานที่คาดว่าจะเป็นคำศัพท์ร่วมเชื้อสาย ตระกูลไท-จีน" วารสารเอเซียตะวันออกศึกษา.

สถาบัน เอเซียตะวันออกศึกษา,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 ,หน้า 124 - 162.

44. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ซานเสียน พิณสามสายของจีน บรรพบุรุษของซามิเซ็นของญี่ปุ่น” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 15 ฉบับที่ 10.หน้า 16 – 19.

45. ประชุมวิชาการ ตปท. 魏清.(2010)汉语统称的人称代词与泰语分称的人称代词比较研究.。发表于上海大学国际交流学院2010年学术节,

1月 13 – 14日.

(เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “การเปรียบเทียบสรรพนามรวมหมู่ในภาษาจีนและสรรพนามบ่งชี้ในภาษาไทย”. นำเสนอโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการ

นานาชาติ ที่ College of International Exchange, Shanghai University, 13 – 14 มกราคม 2553)

46. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ขลุ่ยจีนแบบเป่าแนวขวางและแบบเป่าแนวตั้ง” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล,

ปีที่ 15 ฉบับที่ 11.หน้า 14 – 17.

47. บทความ วชก.(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2552) “เสียงปฏิภาค /r/,/k/,/kh/ และเสียงปฏิภาคอื่นๆ:หลักฐานความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาไทยในฐานะภาษาร่วม

ตระกูล” วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 31 ประจำภาคเรียนที่ 2 การศึกษา 2552.

48 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “ หนิวเจี่ยว,เครื่องเป่าจากเขาวัวของชนกลุ่มน้อยในประเทศจีน ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 1,หน้า 26-29.

49 บทความ วชก.(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “ การวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เรื่องคำเรียกช้างในภาษากูย”, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง,ปีที่ 6 ฉบับที่ 2,

หน้า 97 - 118 .

50 บทความ วชก. เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “สภาพและปัญหาการเรียนการสอนภาษาจีนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย

ราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 .

51 ประชุมวิชาการ ระดับชาติ เมชฌ สอดส่องกฤษ (2553) “ความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในอีสานใต้” นำเสนอใน การประชุมวิชาการระดับชาติ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 6 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2553.จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร่วมกับ

ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศิลปศาสตร์

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

52 หนังสือ / ตำรา เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2553) ร้อยเพลงรักชาติจีน.พิมพ์ครั้งที่1.อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 505 หน้า. ISBN : 978-974-523-

240-2. (พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2554)

53 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “เพลงจีนสำเนียงมองโกล : เพลงยอดเยี่ยมแห่ง Asia Pacific ขององค์การยูเนสโก” วารสารเพลงดนตรี ,

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 2,หน้า 26-29.

54 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “บรรทัดห้าเส้นที่ยาวที่สุดในโลก: ประติมากรรมทางดนตรีของจีนที่ได้รับบันทึกใน Guinness Book of World Records ”

วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 3,หน้า 26-28.

55 บทความ วชก.(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2553) “การศึกษาวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ของภาษาตระกูลไท-จีนเรื่อง ความสัมพันธ์ของเสียง / h / ใน

ภาษาไทยถิ่นอีสานกับเสียง / h /ในภาษาจีน ” วารสารศิลปศาสตร์ ,คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, ปีที่ 2

ฉบับที่ 2 .หน้า 68-90







2554

56 หนังสือ / แปล ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง, เมชฌ สอดส่องกฤษ.แปล,(2554)100 นิทานจีนสำหรับเด็ก.พิมพ์ครั้งที่1.อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 350 หน้า.

57 หนังสือ / ตำรา เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) 500 อักษรจีน จำง่ายใช้ได้จริง.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-

ญี่ปุ่น. http://www.chulabook.com/description.asp?barcode=9786167121239


58 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ลำนำบุตรทั้งเจ็ด : บทเพลงประวัติศาสตร์แห่งการคืนสู่มาตุภูมิจีนของดินแดนอาณานิคมทั้งเจ็ด ” วารสารเพลงดนตรี ,

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 4,หน้า 34 - 36. (วารสารออกเดือน ก.พ. 2554)

59 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “เพลง นิทานในฤดูใบไม้ผลิ บทเพลงประวัติศาสตร์การปฏิวัติการปกครองของจีน ” วารสารเพลงดนตรี ,

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 5,หน้า 18 - 21. (วารสารออกเดือน มี.ค. 2554)

60 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ถงอี้โส่วเกอ : เวทีคอนเสริตชั้นแนวหน้าของสถานีโทรทัศน์ CCTV ของจีน ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 6,หน้า 20 - 22. (วารสารออกเดือน เม.ย. 2554)

61 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ อ้าว หว่อ จงหัว: บทเพลงทรงพลังที่ร้อยใจรักจีนเป็นหนึ่งเดียว ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 7,หน้า 18-21. (วารสารออกเดือน พฤษภาคม 2554)

62. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ที่ราบสูงชิง-จั้ง :นั่นคือทิเบตแดนสวรรค์ ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16

ฉบับที่ 9,หน้า 22-25. (วารสารออกเดือน ก.ค. 2554)

63. บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ฉันรักเธอ ประเทศจีน : เพลงรางวัลชนะเลิศในการประกวดเพลงยอดเยี่ยมระดับชาติครั้งปฐมฤกษ์ของจีน” วารสารเพลง

ดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 10,หน้า 22-25. (วารสารออกเดือน ส.ค. 2554)

64. บทความวิจัย(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) การศึกษาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์เรื่อง “คำศัพท์ร่วมเชื้อสายไท-จีน ในภาษาไทยถิ่นอีสาน” The Journal.

Journal of the Faculty of Liberal Arts, Mahidol University. Vol.7No.2 (2010) p.125-149.

65.

บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ ลำนำมหานทีแยงซี : เพลงเอกประกอบสารคดีขนาดใหญ่ระดับชาติของจีน ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 11,หน้า 36-38. (วารสารออกเดือน ก.ย. 2554)

67 บทความทั่วไป เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) “ บนผืนแผ่นดินจีนอันกว้างใหญ่ : บทเพลงที่รวมวัฒนธรรมจีนทั้งแผ่นดินไว้ในเพลงเดียว ” วารสารเพลงดนตรี , วิทยาลัย

ดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 16 ฉบับที่ 12,หน้า 20-24. (วารสารออกเดือน ต.ค. 2554)

68 หนังสือ / ตำรา เมชฌ สอดส่องกฤษ.(2554) ดนตรีและเพลงจีน. พิมพ์ครั้งที่ 1.อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 362 หน้า.

ISBN : 978-974-523-226-6

69 บทความวิชาการ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2554) ชนกลุ่มน้อยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและสถานภาพการศึกษาในประเทศไทย.วารสารศิลปศาสตร์,

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ก.ค - ธ.ค. 2554

2555

70 หนังสือ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) นามานุกรมธุรกิจชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตจังหวัดอุบลราชธานี. พิมพ์ครั้งที่ 1.อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย

อุบลราชธานี. 270 หน้า.

71 หนังสือ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) สารานุกรมชนกลุ่มน้อยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. พิมพ์ครั้งที่2.อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย

อุบลราชธานี. 365 หน้า. ISBN 978-974-523-255-6

72 นำเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเสียงพ่นลมในภาษาไทยมาตรฐานและเสียงไม่พ่นลมในภาษาไทยถิ่นเหนือกับคำใน

ภาษาจีน. นำเสนอใน การประชุมทางวิชาการจีนศึกษาระดับนานาชาติ ครั้งที่ 1 เรื่อง " จีนภิวัฒน์ในมิติภาษา วรรณกรรม การสอน และวัฒนธรรม

ศึกษา " จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ โครงการปริญญาโท หลักสูตรวัฒนธรรมจีนศึกษา คณะศิลปศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ International College Nanjing Normal University วันที่ 3-4 พฤษภาคม 2555

73 หนังสือ/ตำรา Lu sheng, เมชฌ สอดส่องกฤษ,อรรถวิทย์ รอดเจริญ,Wang Yanyan.(2012) 《高等学校泰语专业系列:泰语教程二》重庆:重庆大学出版

社,(配CAI光盘) *本书获评云南省优秀教材。

(Lu sheng, เมชฌ สอดส่องกฤษ,อรรถวิทย์ รอดเจริญ,Wang Yanyan.(2012) ชุดตำราเรียนภาษาไทยระดับอุดมศึกษา เล่ม 2. ฉงชิ่ง : สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยฉงชิ่ง, ประเทศจีน,พร้อมสื่อ DVD ประกอบการเรียน) * ตำราเล่มนี้ได้รับรางวัลตำราเรียนยอดเยี่ยมของมณฑลยูนนาน

74 หนังสือ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) ลั้นลาภาษาจีน. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น,184 หน้า.

75 หนังสือ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) คำพ้องจีน-ไทย กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น,224 หน้า.

76 นำเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) การสำรวจธุรกิจการค้าของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย.นำเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติประจำปีของสมาคมการสอนภาษาจีนแห่งเอเชียแปซิฟิก.13-15 ตุลาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม.

77 บทความวิจัย(TCI) เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) รายงานการวิจัยเรื่องการสำรวจและวิเคราะห์ชื่อร้านค้าของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดอุบลราชธานี, วารสารศิลปศาสตร์.

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,ปีที่ 9 ฉบับที่ 1, หน้า 9 - 41.

78 นำเสนอในการประชุมวิชาการนานาชาติ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) ศาลเจ้าจีนในเขตจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของไทย. นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติเนื่อง

ในวันสถาปนาครบรอบ 25 ปี วันที่ 29 – 30 ธันวาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี.

79. หนังสือ เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2555) สารานุกรมศาสนสถานจีนในเขตจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของไทย . พิมพ์ครั้งที่ 1.อุบลราชธานี: โรง

พิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 139 หน้า.

80. หนังสือ เมชฌ สอดส่องกฤษและคณะ (2556) คู่มือประกอบการใช้สื่อการเรียนการสอนภาษาจีนจากสื่อมัลติมีเดีย . พิมพ์ครั้งที่ 1.อุบลราชธานี: โรง

พิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 165 หน้า.

81. บทความวิชาการในฐาน TCI เมชฌ สอดส่องกฤษ (2552) “การศึกษาทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับ” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

นเรศวร, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน 2555 ,หน้า 9-42.(วารสารออก มกราคม 2556)

82.



3 ความคิดเห็น:

  1. เก่งจังเลยคะ นักเรียนทุนจนจบเลยเหรอคะ

    ตอบลบ
  2. สุดยอดความเก่ง เปงไอดอลตัวจริง

    ตอบลบ
  3. เก่งมากเลยค่ะ เริ่ดค่ะ สุดๆๆ

    ตอบลบ