Metcha
Sodsongkrit.(2015) Syntactical Instruction in teaching Chinese for Thai
students: A Comparative Analysis of Chineseand Thai Grammar's Reverse-Sequence
Structures and Its Teaching Approach. International Symposium on « Chinese grammar and its acquisition – syntax and semantics » University
Paris Diderot - Paris 7, June 4-7, 2015.
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
对泰汉语教学中的若干句法教学: 汉泰语句法的逆向顺序对比与教学
摘要 : 泰国学生学习汉语构词法和句法的偏误情况往往源于母语和汉语句法的交叉问题。学生通常以母语语法替换汉语词语。而语法课或教材里语法解释的内容也坚持重视语法术语化的分析。语法课就一直成了学生似懂非懂的苦药。经汉泰语就名词性短语的比较发现双方语法顺序有着逆方向的关系。相比而言,汉语名词性词组修饰词在前中心词在后 ,而泰语却恰恰相反中心词在前修饰词在后。本文将汉泰语逆方向顺序句法关系的若干问题进行探讨。主要内容是名词性短语的以下几个问题;1.名词构造2.定中短语3.同位短语 4.方位短语 5.量词短语 6.“的”字短语 7.“所” 字短语。经比较发现最为明显的句法关系是汉语句法顺序为【修饰成分 + 中心名词】,而泰语的句法顺序为 【中心名词+修饰成分】。本结论是汉泰语的句法位置是有着逆向关系。因此在泰国汉语句法教学的课堂上,应先从对汉泰语句法顺序关系的熟悉,到汉语句法成分的分析;先忽略句法成分的各种各样语法术语,而重于掌握句法成分的位置再分析句法的构造。这样的语法教学不仅会引起学生的注意和兴趣,学生也会自觉且兴致地去探索语法的异同点,语法教学效率明显提高。
关键词:对外汉语教学,语法习得,名词性短语,汉泰语法对比
การสอนภาษาจีนสำหรับผู้เรียนชาวไทย : ไวยากรณ์แบบสวนทางของภาษาจีนกับภาษาไทยกับการสอนภาษาจีน
บทคัดย่อ
ข้อผิดพลาดในการเรียนไวยากรณ์ภาษาจีนของผู้เรียนชาวไทยมีสาเหตุมาจากความแตกต่างทางไวยากรณ์ของทั้งสองภาษา
ผู้เรียนมักใช้คำศัพท์ภาษาจีนแทนที่ในไวยากรณ์ภาษาไทย
ในขณะที่บทเรียนวิชาไวยากรณ์หรือคำอธิบายไวยากรณ์ในตำราเรียนมุ่งเน้นศัพท์วิชาการทางไวยากรณ์มากเกินไป
วิชาไวยากรณ์จึงเป็นปัญหาสำหรับผู้เรียนมาโดยตลอด
จากกรเปรียบเทียบระบบไวยากรณ์ของทั้งสองภาษาพบว่า
ไวยากรณ์ภาษาจีนและภาษาไทยมีความสัมพันธ์แบบสวนทางกัน ไวยากรณ์ภาษาจีนวางคำสำคัญไว้หลังส่วนขยายไว้หน้า
แต่ภาษาไทยวางคำสำคัญไว้หน้าส่วนขยายไว้หลัง บทความนี้ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์แบบสวนทางกันของไวยากรณ์ภาษาจีนกับภาษาไทย
เนื้อหาหลักมีดังนี้ 1.การประกอบคำนาม 2.นามวลีแบบคำชี้และคำหลัก 3.
นามวลีแบบเท่าเทียม 4.นามวลีแบบบอกทิศ 5.นามวลีลักษณนาม 6.นามวลี “ที่ ซึ่ง อัน”
7.นามวลี “สิ่งที่” จากการเปรียบเทียบพบว่า ระบบไวยากรณ์ภาษาจีนและภาษาไทยมีความสัมพันธ์กันแบบสวนทางอย่างเห็นได้ชัด
กล่าวคือ รูปแบบภาษาจีนเป็น [ส่วนขยาย + คำนามหลัก] รูปแบบภาษาไทยคือ [คำนามหลัก + ส่วนขยาย] บทสรุปของบทความเรื่องนี้คือ ไวยากรณ์ภาษาไทยและภาษาจีนเป็นแบบสวนทางกัน
ดังนั้น ในห้องเรียนวิชาไวยากรณ์ของประเทศไทยควรที่จะเริ่มจากการทำความคุ้นเคยเรื่องความสัมพันธ์ดังกล่าวนี้
จากนั้นจึงค่อยวิเคราะห์ส่วยประกอบทางไวยากรณ์ ควรใส่ใจการเรียงลำดับ และตำแหน่งของคำ
ก่อนแล้วจึงค่อยอธิบายลักษณะทางไวยากรณ์ เช่นนี้จะทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
ผู้เรียนไม่เพียงรู้สึกสนใจความสัมพันธ์ของไวยากรณ์ทั้งสองภาษาเท่านั้น
หากแต่เกิดแรงบันดาลใจในการขยายผลเพื่อแสวงหารูปแบบไวยากรณ์ในลักษณะอื่นๆ
ด้วย
论文题目
|
Enseigner une phrase chinoise aux étudiants thaïlandais
: L’inversion syntaxique des phrases
sino-thaïlandaies
|
对泰汉语教学中的若干句法教学: 汉泰语句法的逆向顺序对比与教学
|
作者
姓名
|
Metcha SODSONGKRIT, Doctorat
|
中文名:魏清
|
工作
单位
|
Faculté des arts
libéraux,Université d’Ubon Ratchatnani,THAÏLANDE
|
泰国乌汶付乌汶大学文学院
|
职称
|
Maître de conférences
|
副教授
|
学位
|
Doctorat en Linguistique et philologie chinoises
|
汉语言文字学,博士学位
|
通讯地址
|
Faculty of Liberal Arts, Ubonratchathani University,
Ubonratchathani Province Thailand
34190
|
Faculty of Liberal Arts, Ubonratchathani University,
Ubonratchathani Province Thailand
34190
|
电子邮件
|
||
联系电话
|
66 85 1040408
|
66 85 1040408
|
前言 : 数年以来泰国的汉语教学成为学术界的亮点话题,并被本土汉语教学专家以及众多学术专家重视。汉语教学研究的各个方面纷纷向我国学术界开展问难,揭开了多方面长期未解的教学问题。为了给本土教师在语言方面打好基础,如今对泰汉语的语言研究,汉泰对比研究,在语音﹑词汇﹑语法﹑语言文化等都有进度。但由于泰国汉语教学开始地比较晚,研究著作仍未齐全。汉语言研究工作在泰国仍在进行之中。
汉语教学在课堂上的一个难点之一是语法,会汉语的泰国教师不一定会教语法,更不用说外教了。在课堂上的语法解释以对象语言来讲解学生除了面对语言障碍之外还在似懂非懂地听课,这样的语法教学经常失败。因此在我国各个学校的语法课常安排本土教师任课。而部分的本土教师在语法方面也未有研究。在课堂上经常没有通过双语比较的方法来进行教学,而专著于汉语语法的解释。从这个问题出发,本土汉语教师开始注重语法比较的研究。
汉泰语句法的逆向顺序对比与教学
经汉泰语就名词性短语的比较发现双方语法顺序有着逆方向的关系。相比而言, 汉语名词性词组修饰词在前中心词在后 ,而泰语却恰恰相反中心词在前修饰词在后。 本文将汉泰语逆方向顺序句法关系的若干问题进行探讨。 包括以下内容;
1.名词构造,包括;1.联合式﹑2.偏正式﹑3. 述宾式﹑4. 述补式﹑5.主谓式﹑6.词缀+词根﹑7.词根+后缀。
2.名词性短语,包括; 1.定中短语﹑2.同位短语﹑3.方位短语﹑4.量词短语﹑5.“的”字短语﹑6.“所” 字短语﹑7.
其他名词短语。
合成词是由两个语素构成的,可分为复合词和派生词两类。复合词的两个直接成分,由体现概念意义的语素充当。体现概念意义的语素,称为词根。按词根和词根之间的语义关系,复合词可分为以下几类:
1.1
联合式:由两个意义相同、相近、相关、或相反的词根构成。如:
a.
制造、道路、波浪、声音、睡眠、生产(意义相近,可以互释)
b. 江山、骨肉、口舌、领袖、分寸、岁月(意义相关,产生新义)
c.
矛盾、方圆、左右、东西、买卖、呼吸(意义相反,产生新义)
d. 动静、国家、人物、忘记、睡觉、好歹(偏义词,一根有义)
因为这种词前后部分不是中心词和修饰成分的关系,只是两个词联合组成。与汉语相比在词的顺序和语法结构的差异不是很明显,只是语用的差别如下例;(以下用A和B分别代替前和后成分)
联合式合成词 A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
道路
|
หนทาง /hon thang/
|
道+ 路
|
骨肉
|
เลือดเนื้อ /luet nue/
|
血 + 肉
|
口舌
|
ลิ้นฟัน /lin fan/
|
舌 + 齿
|
思想
|
คิดเห็น /kit hen/
|
想 + 见
|
矛盾
|
ขัดแย้ง/khat jaeng/
|
碍 + 驳
|
1.2
偏正式:前面的词根修饰、限制后面的词根。名词性如:铁路、京剧、足球、唐僧、大豆、方桌、母鸡、象牙、肉丸。泰语的偏正式合成词的语法结构和功能是后面的词根修饰、限制前面的词根如下例;
偏正式合成词A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
京剧
|
งิ้วปักกิ่ง /ngiw pakking/
|
剧+北京
|
方桌
|
โต๊ะเหลี่ยม/to liam/
|
桌+方
|
母鸡
|
ไก่แม่/gai mae/
|
鸡+母
|
象牙
|
งาช้าง/nga chang/
|
牙+象
|
肉丸
|
ลูกชิ้น/luuk chin/
|
丸+肉
|
1.3
.述宾式:前面的词根支配后面的词根。名词构造如:卧铺、引线、靠背、提包、扒手。泰语结构是后面的词根支配前面的词根。有些词与汉语意义相同但泰语是专有单纯词或借词,不是合成词。汉泰语述宾式合成名词的例子如下;
述宾式合成词A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
卧铺
|
ที่นอน /thi naon /
|
铺+卧
|
引线
|
สายล่อ /saai loo/
|
线+引
|
靠背
|
พนักพิง /phnak phing/
|
背+靠
|
提包
|
กระเป๋าถือ/krapao tue/
|
包+提
|
扒手
|
มือล้วง /mue luang/
|
手+扒
|
1.4
述补式:后面的词根补充说明前面的词根。述补式的构词能力较弱,只能构成动词和少量形容词。述补式的构词也称“动补式复合词”、“后补格复合词”。由表示中心成分的词根和一个对它起补充作用的词根组合而成的复合词。泰语的修饰成分在中心词后,因为补语起词根的补充作用,不是修饰作用。因此泰语补语与汉语一样,动词在前,补语在后。如;
述宾式合成词 动+补
|
泰文和注音
|
泰语词义结构 动+补
|
看见
|
มองเห็น/maong hen/
|
看见
|
革新
|
เปลี่ยนใหม่ /plian mai/
|
革新
|
吃饱
|
กินอิ่ม /kin im/
|
吃饱
|
扩大
|
ขยายใหญ่ /khjai jai/
|
扩大
|
1.5
主谓式:后面的词根陈述前面的词根。泰语的结构是前面的词根陈述后面的词根如;
述宾式合成词A+B
|
泰文和注音
|
泰语词义结构 B+A
|
年轻
|
เยาวว์วัย /jao wai/
|
轻+岁
|
面熟
|
คุ้นหน้า /kun na/
|
熟+面
|
月底
|
สิ้นเดือน/sin duen/
|
底+月
|
心酸
|
ปวดใจ /puat jai/
|
疼+心
|
合成词的另一种类型是派生词。派生词的两个构词成分,一是由词根充当,一是由词缀充当。词缀是指附加在词根上面、起语法作用的语素。派生词可分为两种:
1.6
词缀+词根,附加在词根之前的词缀叫前缀。现代汉语的前缀有老~、阿~、第~、小~等。如:老师、阿姨、第十、小王。这一形式泰语与汉语相同,例如;
述宾式合成词A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序A+ B
|
第四
|
ที่สี่ /thi sii/
|
第 四
|
阿姨
|
คุณน้า/khun naa/
|
阿 姨
|
小王
|
น้องหวาง/nong wang/
|
小 王
|
老王
|
ผู้เฒ่าหวาง/phuthao wang/
|
老 王
|
1.7
词根+后缀,附加在词根之后的词缀叫后缀。现代汉语的后缀有~子、~头、~儿、~性、~者、~员、~家、~手、~化、们等。这一形式泰语与汉语相反,既[词缀+词根]。附加在词根之前的词缀叫前缀例如;
述宾式合成词A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
学者
|
นักเรียน/nak rian/
|
者 学
|
售货员
|
พนักงานขาย/phnak ngan
khai/
|
员 售
|
思想家
|
นักคิด/nak khit/
|
家 思想
|
鼓手
|
มือกลอง/mue klong/
|
手 鼓
|
老师们
|
พวกอาจารย์ /puak aa jaan/
|
们老师
|
2.1 定中短语
定中短语必定是名词性的,而且一定由两个部分构成。其中第一个部分为修饰或限定的成分,即定语,既可以由形容词性词语、名词性词语构成,也可以由动词性词语构成;第二个部分为被修饰或被限定的成分,即中心语,主要由名词性词语构成,有时也可以由动词性词语或形容词性词语构成。泰语的格式是与汉语相反,既第一个部分是被修饰或被限制的中心语,第二个部分是修饰成分或限定成分。以下举例:
定中短语 A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
辽阔的大地
|
แผ่นดิน อัน กว้างใหญ่ /pean din an
kwang jai/
|
大地的辽阔
|
经济的繁荣
|
ความเจริญ ทาง เศรษฐกิจ /khwam jaroen
thang setthakit/
|
繁荣的经济
|
2.2
同位短语的构成序列同位短语必定是名词性的,而且一定由两个部分组成;两个部分所指的内容相同,意义上具有复指的关系。其中第二个部分一定是名词性词语,第一个部分既可以是名词性词语,也可以是谓词性词语。两个部分所指的内容相同,意义上具有复指的关系。汉语和泰语的词语顺序是前后相反,以下举例:
同位短语A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
我的故乡 中国
|
ประเทศจีน บ้านเกิดฉัน
/prathet Jiin
baan ket chan/
|
中国 我的故乡
|
章回小说《三国演义》
|
“สามก๊ก” นวนิยายของจางหุย
/sam kok nawa
nijai Janghui/
|
《三国演义》章回小说
|
2.3
方位短语的构成序列方位短语必定是名词性的,而且一定由两个部分组成,其中第二个部分一定是方位名词。其构成的主要序列是名词性词语+方位名词,而泰语的顺序是汉语顺序的前后替换。例如:
方位短语A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
学校前
|
หน้า โรงเรียน /naa rong rian
/
|
前 学校
|
山坡上
|
บนภูเขา/bon phu khao/
|
上 山坡
|
改革 之中
|
ระหว่าง ปฏิวัติ/rawang patiwat/
|
之中 改革
|
想了一阵 以后
|
หลังจาก คิดแล้วช่วงหนึ่ง/langjak kid
leaw chuang nung /
|
以后 想了一阵
|
2.4名词性量词短语的构成序列名词性量词短语必定是由物(名)量词构成的量词短语。由于汉泰语量词结构不同,量词短语也不同。汉语的量词结构是[数+量+名],泰语是 [名+数+量]。指示代词也不同,在与指示代词构造时也是按照指示代词的结构排序。汉语是 [指示代词+量],泰语是[量+指示代词]。以下举例:
名词性量词短语 A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+A
|
一条路
|
ถนนหนึ่งสาย /thanon nung
saai/
|
路 一条
|
这条路
|
ถนนสายนี้ /thanon sai nii/
|
路 条这
|
几条路
|
ถนนกี่สาย /thanon ki sai/
|
路 几条
|
哪条路
|
ถนนสายไหน /thanon sai nai/
|
路 条哪
|
2.5 “的”字短语的构成序列“的”字短语必定是名词性的,而且一定由两个部分组成,其中第二个部分一定是结构助词“的”,第一个部分既可以是名词性词语,也可以是谓词性词语。泰语与汉语的“的”字意义相似的词是“ที่”发音成/thii/。它的语法功能与汉语同样是语法词,常用在修饰成分与中心词之间。只不过汉语是用在修饰成分和中心词中间,泰语是用在中心词和修饰成分之间。例如:
“的”字短语
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序B+“thi”+ A
|
红的衣服
|
เสื้อที่สีแดง /sua thii see
daeng/
|
衣服+的红
|
开车的(人)
|
คนที่ขับรถ/khon thii khap
rot/
|
(人)+ 的开车
|
我们的(学校)
|
โรงเรียนของพวกเรา /rong rian
khong puak rao/
|
(学校)+的我们
|
父辈年长的(人)
|
คนที่อายุมาก รุ่นพ่อ
/khon
run pho thi arju mak kwa/
|
(人)+ 的年长父辈
|
2.6 “所”字短语的构成序列“所”字短语必定是名词性的,主要是将“所”字置于非名词性词语前或插入主谓短语之间来构成,其格式是“所+VP”和“NP+所+VP”。泰语格式与汉语相似,但是汉语省略部分在泰语是必须出现的成分,比如 所 认识(省略成分)。省略成分有可能是人或事物,泰语不可省略。以下举例:
“所”字短语 A+B
|
泰文和注音
|
泰语词语顺序 人/事/物+所+P
|
我所认识(人)
|
คนที่ฉันรู้จัก
/khon thi chan
rujak/
|
人 所 我认识
|
我所不知道的(事)
|
เรื่องที่ฉันไม่รู้
/rueng thi chan
mai ru/
|
事 所 我不知道
|
2.7 其他名词短语 在以大小为单位的排序来看,比如地点﹑单位﹑称谓﹑时间等。汉语是从大到小,而泰语是从小到大的排序。换句话说汉语是从修饰成分到中心词,泰语是从中心词到修饰成分。如下例;
其他名词短语 大到小
|
泰文和注音
|
其他名词短语 小到大
|
2015
年6月4日8点
|
8โมง วันที่4 เดือน6 ค.ศ.2015
8momg wanthi 4
duen6 ko.so.2015
|
8点4日6月2015 年
|
中国北京大学文学院
|
คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ประเทศจีน
/khana akson saat mahaqithayalai pakking/
|
院/文学/大学/北京/国中
|
中文系主任
|
หัวหน้าภาควิชาภาษาจีน
/hua na paak wicha pasa jiin/
|
主任/系/文中
|
结语:以上所述是汉泰语名词短语的比较分析。经比较可见汉语语法名词短语的构造 是修饰成分在前中心词在后的【修饰成分+中心词】结构。而泰语是中心词在前修饰成 分在后的【中心词+修饰成分】结构。 其他词性的短语也是如此,比如;
动词短语
|
[一起去]
|
泰语说 [ไปด้วยกัน /pai duai
kan/ “去/一起”]
|
形容词短语
|
[很好]
|
泰语说 [ดีมาก /dii maak/ “好/很” ]
|
汉泰语中心词和修饰词的对应关系很明显是前后交替。凡是由两个词组成的短语就可以把A和B交替而成。长的短语也可以做这样的结论;(A=中心词,B和其他=修饰成分)
汉
|
˂˂˂˂˂A
|
汉
|
语
|
语法
|
研究
|
国
|
际
|
研讨
|
会
|
语法成分
|
H
|
G
|
F
|
E
|
D
|
C
|
B
|
A
|
|
泰
|
A˃˃˃˃˃
|
会
|
研讨
|
际
|
国
|
研究
|
语法
|
语
|
汉
|
语法成分
|
A
|
B
|
C
|
D
|
E
|
F
|
G
|
H
|
|
泰文
|
ประชุม
|
เสวนา
|
นานา
|
ชาติ
|
วิจัย
|
ไวยากรณ์
|
ภาษา
|
จีน
|
|
注音
|
prachum
|
sewana
|
nana
|
chat
|
wijai
|
waiyakon
|
pasa
|
jiin
|
在教学和语法练习的过程中,泰---汉短语翻译的练习要先找出中心词,放在最后位置。然后按照泰语每个词的顺序往前依次修饰。
这样的逆方语法关系看来比较简单。教师讲课只是把双方语言的语法结构之异同讲解完就算言简意赅。但学习外语最难摆脱的就是母语的影响。尤其是语法,学生往往会犯母语语法外语词的错误。教师再怎么解释和强调,学生仍是置之脑后,明知再错。关键是应用,语法讲解后不断地举例相关的词语并反复地学了就比,比了就用。只有在使用的过程中,才能更好地掌握语言。这是从事对外语言教学的老师们必须掌握的教学方法之一。
参考文献
中国人民大学对外语言文化学院项目组的网络信息《现代汉语概论》
网址:http://202.112.126.101/jpkc/xdhygl/Index.htm
搜索日期:2015年5月20日。
暨南大学中文系在线课程。
网址:http://course.jnu.edu.cn/151/xdhy/duanyu/index.html
搜索日期: 2015 年5 月22日。
[1] 本篇论文的汉语语法内容引自中国人民大学对外语言文化学院项目组的网络信息《现代汉语概论》网址:http://202.112.126.101/jpkc/xdhygl/Index.htm 搜索日期:2015年5月20日。
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น