ชื่อหนังสือ
|
สารานุกรมชนกลุ่มน้อยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
中 国 少 数 民 族 丛 书
|
ปีที่พิมพ์
|
พ.ศ.2554 พิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวน 500 เล่ม
|
ผู้เขียน
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เมชฌ
สอดส่องกฤษ
|
ที่อยู่
|
คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
โทรศัพท์ 045 353700 โทรสาร 045 288870
|
หน่วยงานที่สนับสนุน
|
ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
|
สถานที่พิมพ์
|
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ออกแบบปก : อรรถวุฒิ
ศรีสุข
|
ข้อมูลบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
|
|
สารานุกรมชนกลุ่มน้อยในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน—
อุบลราชธานี :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2554,365 หน้า.
|
|
1.ชนกลุ่มน้อย 2.กลุ่มชาติพันธุ์ 3. ประชาชนจีน
|
|
|
|
|
ISBN 978-974-523-255-6
|
คำนำ
รัฐบาลจีนแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ โดยใช้เกณฑ์เรื่องประวัติศาสตร์ความเป็นมา การสืบเชื้อสาย ประเพณีวัฒนธรรม ถิ่นที่อยู่ ศาสนา ภาษา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งตามความเห็นชอบของเจ้าของกลุ่มชาติพันธุ์เอง กำหนดกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศออกเป็น 56 กลุ่ม จากการสำรวจจำนวนประชากรจีนในปี 1996 พบว่าประเทศจีนมีชาวฮั่น 96.3% และ 4.7% เป็นกลุ่มชาติพันธุ์อื่น รัฐบาลจีนจึงเรียกกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ที่นอกเหนือจากชาวฮั่นว่า “ชนกลุ่มน้อย” มีทั้งหมด 55 กลุ่ม
ด้วยเหตุที่ประเทศจีนมีชนหลากหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ในประเทศ นับแต่อดีตเป็นต้นมาประเทศจีนเกิดความวุ่นวาย ก่อการกบฏแย่งชิงความเป็นใหญ่ของชนกลุ่มต่างๆ อยู่เป็นประจำ รัฐบาลจีนได้ใช้นโยบาย “พี่น้องร่วมท้อง 56 คน ร่วมสร้างบ้านเมืองของเรา” ทำให้พี่น้องทั้ง 56 กลุ่มอยู่ร่วมกันในบ้านหลังใหญ่ได้อย่างสงบสุขและราบรื่นมาตลอด แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลจีนก็สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี การแต่งกาย ซึ่งสะท้อนภาพอันงดงามของแต่ละชนเผ่าไว้ได้เป็นอย่างดี
จากการสำรวจพบว่า ประเทศไทยมีข้อมูลเกี่ยวกับชนกลุ่มน้อยในประเทศจีนน้อยมาก นอกจากผู้ที่มีความรู้ภาษาจีนที่จะสามารถอ่านเอกสารต้นฉบับจริงภาษาจีนได้แล้ว นักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนโดยเฉพาะเรื่องชนกลุ่มน้อยที่ไม่ได้เรียนภาษาจีนจะหาอ่านเรื่องราวเหล่านี้ได้ยากมาก ผู้เขียนจึงดำริที่จะเรียบเรียงข้อมูลดังกล่าวเป็นภาษาไทยเพื่อเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์สำหรับการศึกษาเรียนรู้ของผู้ศึกษาชาวไทย
สารานุกรมฉบับนี้ ผู้เขียนดำเนินการเรียบเรียงโดยการรวบรวมข้อมูลจากสื่อหลายประเภท ได้แก่ เอกสารหนังสือ ข้อมูลจากสื่อสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต การเก็บข้อมูลในประเทศจีน ทั้งจากพิพิธภัณฑ์ในเมืองต่างๆ มหาวิทยาลัยชนชาติของประเทศจีน (Nationalities University) รวมถึงการไปสัมผัสชีวิตในชุมชนของชนกลุ่มน้อยบางส่วน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาแปลและเรียบเรียงจนครบทั้ง 55 กลุ่ม แต่ละกลุ่มพยายามรวบรวมเนื้อหาเพื่อให้มีข้อมูลที่ครอบคลุมมากที่สุด เช่น เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ชื่อเรียก ถิ่นที่อยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ พร้อมรูปภาพประกอบด้วย
การทำงานครั้งนี้ ผู้เขียนใช้เวลาเรียบเรียงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 เป็นผลงานในโครงการร่วมแต่งตำราของ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ Faculty of Southeast Asia and South Asia Language and culture, Yunnan Nationalities University, China.
ช่วงเดือนมีนาคม ถึง เดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2552 ผู้เขียนได้รับทุนโครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เดินทางไปศึกษาวิจัยและเก็บข้อมูล ณ มหาวิทยาลัยชนชาติแห่งมณฑลยูนนาน(Yunnan Nationalities University) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเวลา 3 เดือน ในช่วงนี้ได้มีโอกาสเก็บข้อมูลทั้งข้อมูลเอกสาร และการสำรวจชุมชนกลุ่มน้อยของมณฑลยูนนานซึ่งมีจำนวนมากถึง 25 กลุ่ม จากจำนวนทั้งหมด 55 กลุ่ม
ช่วงเดือนตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2552 ผู้เขียนได้รับทุน จาก Beijing International Education Exchange (BIEE) เพื่อไปฝึกอบรมด้านการสอนภาษาจีนที่กรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงนี้ก็ได้มีโอกาสไปเก็บข้อมูลที่ มหาวิทยาลัยชนชาติแห่งประเทศจีน (Minzu University of China) และสถาบันขงจื่อสำนักงานใหญ่ (孔子学院总部)
ช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ผู้เขียนได้รับทุนจากฮั่นป้าน(国家汉办) เข้ารับการอบรมการสอนภาษาจีน ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ในช่วงนี้ได้มีโอกาสเก็บข้อมูลเอกสาร ณ หอสมุดมหาวิทยาลัยปักกิ่งด้วย
กราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ภิชาน ดร.ประพิน มโนมัยวิบูลย์ ให้ความกรุณาตรวจประเมินคุณภาพทางวิชาการ
กราบขอบพระคุณ Prof.Dr.Lu Sheng, Vice Dean of Faculty of Southeast Asia
and South Asia Language and culture, Yunnan Nationalities University, China. ให้ความกรุณาตรวจประเมินคุณภาพทางวิชาการ
กราบขอบพระคุณ ดร.มิตต์ ทรัพย์ผุด ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตลอดจนคณะกรรมการศูนย์ฯ ทุกท่าน ที่เล็งเห็นความสำคัญของการทำงานครั้งนี้ และได้สนับสนุนงบประมาณการจัดพิมพ์
ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนสนับสนุนการทำงานในครั้งนี้เป็นอย่างสูง
สารบัญ
1. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอาชาง
阿昌族
Ā’chānɡ Zú
2. ชนกลุ่มน้อยเผ่าป๋าย
白族
Bái Zú
3. ชนกลุ่มน้อยเผ่าป่าวอาน
保安族
Bǎo’ān Zú
4. ชนกลุ่มน้อยเผ่าปลัง
布朗族
Bùlǎnɡ Zú
5. ชนกลุ่มน้อยเผ่าปูอี
布依族
Bùyī Zú
6. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเฉาเสี่ยน
朝鲜族
Cháoxiǎn Zú
7. ชนกลุ่มน้อยเผ่าต๋าโว่ร์
达斡尔族
Dáwò’ěr Zú
8. ชนกลุ่มน้อยเผ่าไต
傣族
Dǎi Zú
9. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเต๋ออ๋าง
德昂族
Dé’ánɡ Zú
10. ชนกลุ่มน้อยเผ่าต้ง
侗族
Dònɡ Zú
11. ชนกลุ่มน้อยเผ่าตงเซียง
东乡族
Dōnɡxiānɡ Zú
12. ชนกลุ่มน้อยเผ่าตรุง
独龙族
Dúlónɡ Zú
13. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเอ้อหลุนชุน
鄂伦春族
Èlúnchūn Zú
14. ชนกลุ่มน้อยเผ่ารัสเซีย
俄罗斯族
Éluósī Zú
15. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเอ้อเวินเค่อ
鄂温克族
Èwēnkè Zú
16. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเกาซาน
高山族
Gāoshān Zú
17. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเกอลาว
仡佬族
Yìlǎo Zú
18. ชนกลุ่มน้อยเผ่าฮานี
哈尼族
Hāní Zú
19. ชนกลุ่มน้อยเผ่าคาซัค
哈萨克族
Hāsàkè Zú
20. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเฮ่อเจ๋อ
赫哲族
Hèzhé Zú
21. ชนกลุ่มน้อยเผ่าหุย
回族
Huí Zú
22. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจีโน
基诺族
Jīnuò Zú
23. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจิง
京族
Jīnɡ Zú
24. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจิ่งโพ
景颇族
Jǐnɡpō Zú
25. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเคอร์กิส
柯尔克孜族
Kē’ěrkèzī Zú
26. ชนกลุ่มน้อยเผ่าลาหู่
拉祜族
Lāhù Zú
27. ชนกลุ่มน้อยเผ่าหลี
黎族
Lí Zú
28. ชนกลุ่มน้อยเผ่าลี่ซู
傈僳族
Lìsù Zú
29. ชนกลุ่มน้อยเผ่าลั่วปา
珞巴族
Luòbā Zú
30. ชนกลุ่มน้อยชาวหม่าน
满族
Mǎn zú
31. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมาหนาน
毛南族
Máonán Zú
32. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมินปา
门巴族
Ménbā Zú
33. ชนกลุ่มน้อยเผ่ามองโกล
蒙古族
Měnɡgǔ Zú
34. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมียว
苗族
Miáo Zú
35. ชนกลุ่มน้อยเผ่ามู่หล่าว
仫佬族
Mùlǎo Zú
36. ชนกลุ่มน้อยเผ่าน่าซี
纳西族
Nàxī Zú
37. ชนกลุ่มน้อยเผ่านู่
怒族
Nù Zú
38. ชนกลุ่มน้อยเผ่าผูหมี่
普米族
Pǔmǐ Zú
39. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเชียง
羌族
Qiānɡ Zú
40. ชนกลุ่มน้อยเผ่าซาลาร์
撤拉族
Chèlā Zú
41. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเซอ
畲族
Shē Zú
42. ชนกลุ่มน้อยเผ่าสุ่ย
水族
Shuǐ Zú
43. ชนกลุ่มน้อยเผ่าทาจิค
塔吉克族
Tǎjíkè Zú
44. ชนกลุ่มน้อยเผ่าทาทาร์
塔塔尔族
Tǎtǎ’ěr Zú
45. ชนกลุ่มน้อยเผ่าถู่
土族
Tǔ Zú
46. ชนกลุ่มน้อยเผ่าถู่เจีย
土家族
Tǔjiā Zú
47. ชนกลุ่มน้อยเผ่าว้า
佤族
Wǎ Zú
48. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอุยกูร์
维吾尔族
Wéiwú’ěr Zú
49. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอุสเบค
乌兹别克族
Wūzībiékè Zú
50. ชนกลุ่มน้อยเผ่าซีโป๋
锡伯族
Xībó Zú
51. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหยา
瑶族
Yáo Zú
52. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอี๋
彝族
Yí Zú
53. ชนกลุ่มน้อยเผ่ายวี่กูร์
裕固族
Yùgù Zú
54. ชนกลุ่มน้อยเผ่าทิเบต
藏族
Zànɡ Zú
55. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจ้วง
壮族
Zhuànɡ Zú
รัฐบาลจีนแบ่งกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ โดยใช้เกณฑ์เรื่องประวัติศาสตร์ความเป็นมา การสืบเชื้อสาย ประเพณีวัฒนธรรม ถิ่นที่อยู่ ศาสนา ภาษา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งตามความเห็นชอบของเจ้าของกลุ่มชาติพันธุ์เอง กำหนดกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศออกเป็น 56 กลุ่ม จากการสำรวจจำนวนประชากรจีนในปี 1996 พบว่าประเทศจีนมีชาวฮั่น 96.3% และ 4.7% เป็นกลุ่มชาติพันธุ์อื่น รัฐบาลจีนจึงเรียกกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ ที่นอกเหนือจากชาวฮั่นว่า “ชนกลุ่มน้อย” มีทั้งหมด 55 กลุ่ม
ด้วยเหตุที่ประเทศจีนมีชนหลากหลายเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่ในประเทศ นับแต่อดีตเป็นต้นมาประเทศจีนเกิดความวุ่นวาย ก่อการกบฏแย่งชิงความเป็นใหญ่ของชนกลุ่มต่างๆ อยู่เป็นประจำ รัฐบาลจีนได้ใช้นโยบาย “พี่น้องร่วมท้อง 56 คน ร่วมสร้างบ้านเมืองของเรา” ทำให้พี่น้องทั้ง 56 กลุ่มอยู่ร่วมกันในบ้านหลังใหญ่ได้อย่างสงบสุขและราบรื่นมาตลอด แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลจีนก็สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี การแต่งกาย ซึ่งสะท้อนภาพอันงดงามของแต่ละชนเผ่าไว้ได้เป็นอย่างดี
จากการสำรวจพบว่า ประเทศไทยมีข้อมูลเกี่ยวกับชนกลุ่มน้อยในประเทศจีนน้อยมาก นอกจากผู้ที่มีความรู้ภาษาจีนที่จะสามารถอ่านเอกสารต้นฉบับจริงภาษาจีนได้แล้ว นักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมจีนโดยเฉพาะเรื่องชนกลุ่มน้อยที่ไม่ได้เรียนภาษาจีนจะหาอ่านเรื่องราวเหล่านี้ได้ยากมาก ผู้เขียนจึงดำริที่จะเรียบเรียงข้อมูลดังกล่าวเป็นภาษาไทยเพื่อเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์สำหรับการศึกษาเรียนรู้ของผู้ศึกษาชาวไทย
สารานุกรมฉบับนี้ ผู้เขียนดำเนินการเรียบเรียงโดยการรวบรวมข้อมูลจากสื่อหลายประเภท ได้แก่ เอกสารหนังสือ ข้อมูลจากสื่อสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต การเก็บข้อมูลในประเทศจีน ทั้งจากพิพิธภัณฑ์ในเมืองต่างๆ มหาวิทยาลัยชนชาติของประเทศจีน (Nationalities University) รวมถึงการไปสัมผัสชีวิตในชุมชนของชนกลุ่มน้อยบางส่วน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาแปลและเรียบเรียงจนครบทั้ง 55 กลุ่ม แต่ละกลุ่มพยายามรวบรวมเนื้อหาเพื่อให้มีข้อมูลที่ครอบคลุมมากที่สุด เช่น เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ชื่อเรียก ถิ่นที่อยู่ ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ พร้อมรูปภาพประกอบด้วย
การทำงานครั้งนี้ ผู้เขียนใช้เวลาเรียบเรียงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 เป็นผลงานในโครงการร่วมแต่งตำราของ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และ Faculty of Southeast Asia and South Asia Language and culture, Yunnan Nationalities University, China.
ช่วงเดือนมีนาคม ถึง เดือนมิถุนายน ปี พ.ศ. 2552 ผู้เขียนได้รับทุนโครงการแลกเปลี่ยนบุคลากรและนักศึกษาไทยกับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เดินทางไปศึกษาวิจัยและเก็บข้อมูล ณ มหาวิทยาลัยชนชาติแห่งมณฑลยูนนาน(Yunnan Nationalities University) ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเวลา 3 เดือน ในช่วงนี้ได้มีโอกาสเก็บข้อมูลทั้งข้อมูลเอกสาร และการสำรวจชุมชนกลุ่มน้อยของมณฑลยูนนานซึ่งมีจำนวนมากถึง 25 กลุ่ม จากจำนวนทั้งหมด 55 กลุ่ม
ช่วงเดือนตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2552 ผู้เขียนได้รับทุน จาก Beijing International Education Exchange (BIEE) เพื่อไปฝึกอบรมด้านการสอนภาษาจีนที่กรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงนี้ก็ได้มีโอกาสไปเก็บข้อมูลที่ มหาวิทยาลัยชนชาติแห่งประเทศจีน (Minzu University of China) และสถาบันขงจื่อสำนักงานใหญ่ (孔子学院总部)
ช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ผู้เขียนได้รับทุนจากฮั่นป้าน(国家汉办) เข้ารับการอบรมการสอนภาษาจีน ณ มหาวิทยาลัยปักกิ่ง ในช่วงนี้ได้มีโอกาสเก็บข้อมูลเอกสาร ณ หอสมุดมหาวิทยาลัยปักกิ่งด้วย
กราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ภิชาน ดร.ประพิน มโนมัยวิบูลย์ ให้ความกรุณาตรวจประเมินคุณภาพทางวิชาการ
กราบขอบพระคุณ Prof.Dr.Lu Sheng, Vice Dean of Faculty of Southeast Asia
and South Asia Language and culture, Yunnan Nationalities University, China. ให้ความกรุณาตรวจประเมินคุณภาพทางวิชาการ
กราบขอบพระคุณ ดร.มิตต์ ทรัพย์ผุด ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตลอดจนคณะกรรมการศูนย์ฯ ทุกท่าน ที่เล็งเห็นความสำคัญของการทำงานครั้งนี้ และได้สนับสนุนงบประมาณการจัดพิมพ์
ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนสนับสนุนการทำงานในครั้งนี้เป็นอย่างสูง
สารบัญ
1. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอาชาง
阿昌族
Ā’chānɡ Zú
2. ชนกลุ่มน้อยเผ่าป๋าย
白族
Bái Zú
3. ชนกลุ่มน้อยเผ่าป่าวอาน
保安族
Bǎo’ān Zú
4. ชนกลุ่มน้อยเผ่าปลัง
布朗族
Bùlǎnɡ Zú
5. ชนกลุ่มน้อยเผ่าปูอี
布依族
Bùyī Zú
6. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเฉาเสี่ยน
朝鲜族
Cháoxiǎn Zú
7. ชนกลุ่มน้อยเผ่าต๋าโว่ร์
达斡尔族
Dáwò’ěr Zú
8. ชนกลุ่มน้อยเผ่าไต
傣族
Dǎi Zú
9. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเต๋ออ๋าง
德昂族
Dé’ánɡ Zú
10. ชนกลุ่มน้อยเผ่าต้ง
侗族
Dònɡ Zú
11. ชนกลุ่มน้อยเผ่าตงเซียง
东乡族
Dōnɡxiānɡ Zú
12. ชนกลุ่มน้อยเผ่าตรุง
独龙族
Dúlónɡ Zú
13. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเอ้อหลุนชุน
鄂伦春族
Èlúnchūn Zú
14. ชนกลุ่มน้อยเผ่ารัสเซีย
俄罗斯族
Éluósī Zú
15. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเอ้อเวินเค่อ
鄂温克族
Èwēnkè Zú
16. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเกาซาน
高山族
Gāoshān Zú
17. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเกอลาว
仡佬族
Yìlǎo Zú
18. ชนกลุ่มน้อยเผ่าฮานี
哈尼族
Hāní Zú
19. ชนกลุ่มน้อยเผ่าคาซัค
哈萨克族
Hāsàkè Zú
20. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเฮ่อเจ๋อ
赫哲族
Hèzhé Zú
21. ชนกลุ่มน้อยเผ่าหุย
回族
Huí Zú
22. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจีโน
基诺族
Jīnuò Zú
23. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจิง
京族
Jīnɡ Zú
24. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจิ่งโพ
景颇族
Jǐnɡpō Zú
25. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเคอร์กิส
柯尔克孜族
Kē’ěrkèzī Zú
26. ชนกลุ่มน้อยเผ่าลาหู่
拉祜族
Lāhù Zú
27. ชนกลุ่มน้อยเผ่าหลี
黎族
Lí Zú
28. ชนกลุ่มน้อยเผ่าลี่ซู
傈僳族
Lìsù Zú
29. ชนกลุ่มน้อยเผ่าลั่วปา
珞巴族
Luòbā Zú
30. ชนกลุ่มน้อยชาวหม่าน
满族
Mǎn zú
31. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมาหนาน
毛南族
Máonán Zú
32. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมินปา
门巴族
Ménbā Zú
33. ชนกลุ่มน้อยเผ่ามองโกล
蒙古族
Měnɡgǔ Zú
34. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมียว
苗族
Miáo Zú
35. ชนกลุ่มน้อยเผ่ามู่หล่าว
仫佬族
Mùlǎo Zú
36. ชนกลุ่มน้อยเผ่าน่าซี
纳西族
Nàxī Zú
37. ชนกลุ่มน้อยเผ่านู่
怒族
Nù Zú
38. ชนกลุ่มน้อยเผ่าผูหมี่
普米族
Pǔmǐ Zú
39. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเชียง
羌族
Qiānɡ Zú
40. ชนกลุ่มน้อยเผ่าซาลาร์
撤拉族
Chèlā Zú
41. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเซอ
畲族
Shē Zú
42. ชนกลุ่มน้อยเผ่าสุ่ย
水族
Shuǐ Zú
43. ชนกลุ่มน้อยเผ่าทาจิค
塔吉克族
Tǎjíkè Zú
44. ชนกลุ่มน้อยเผ่าทาทาร์
塔塔尔族
Tǎtǎ’ěr Zú
45. ชนกลุ่มน้อยเผ่าถู่
土族
Tǔ Zú
46. ชนกลุ่มน้อยเผ่าถู่เจีย
土家族
Tǔjiā Zú
47. ชนกลุ่มน้อยเผ่าว้า
佤族
Wǎ Zú
48. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอุยกูร์
维吾尔族
Wéiwú’ěr Zú
49. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอุสเบค
乌兹别克族
Wūzībiékè Zú
50. ชนกลุ่มน้อยเผ่าซีโป๋
锡伯族
Xībó Zú
51. ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหยา
瑶族
Yáo Zú
52. ชนกลุ่มน้อยเผ่าอี๋
彝族
Yí Zú
53. ชนกลุ่มน้อยเผ่ายวี่กูร์
裕固族
Yùgù Zú
54. ชนกลุ่มน้อยเผ่าทิเบต
藏族
Zànɡ Zú
55. ชนกลุ่มน้อยเผ่าจ้วง
壮族
Zhuànɡ Zú
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น